
ทำไมแนวคิดการเปลี่ยนจากภายใน(ระบบ)จึงไม่เข้าท่า ?
ผมเคยได้ยินหลายคนบอกว่า จะเข้าไปฝังตัวในระบบราชการหน่วยต่าง ๆ ตามแต่ที่ตนสนใจและมีความถนัด บ้างก็จะสะสมทุนเพื่อวันนึงพอมีเงินแล้ว ก็จะใช้จ่ายเงินนั้นในการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง บ้างก็ตั้งใจจะเป็นนักการเมืองเองไปเลย สิ่งเหล่านี้เป็นความตั้งใจที่ควรหวงแหนรักษาเอาไว้ แต่ถึงอย่างนั้นในฐานะที่เป็นผู้ร่วมอุดมการณ์ฝั่งก้าวหน้า ที่ต้องการเปลี่ยนแปลงขนบเดิม ๆ ระบบเดิม ๆเหมือนกัน ผมเห็นความจำเป็นที่จะต้องมาชวนคิดทบทวนถึงวิถีปฏิบัตินี้กันสักเล็กน้อย
กำเนิดทุนนิยมโลก
ถ้าเราเข้าใจอย่างคร่าว ๆ ว่า ระบบทุนนิยมคือระบบที่รีดเค้นความมั่งคั่งผ่านแรงงาน ในกรณีดังกล่าวเราก็จะเข้าใจได้ว่าระบบนี้เติบโตขึ้นมาอย่างไร และเราก็จะสามารถสืบสาวต้นกำเนิดและวิเคราะห์พัฒนาการอันต่อเนื่องของระบบทุนนิยมในช่วงเวลาที่ผ่านมาได้ การวิเคราะห์เช่นนี้จำเป็นต่อการทำความเข้าใจว่าเราจะตอบโต้ระบบทุนนิยมได้อย่างไรบ้าง โดยการดูว่า ตลอดประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา การโต้กลับแบบใดบ้างที่ใช้ได้ผล เพื่อให้สามารถเตรียมพร้อมโต้กลับในวิถีทางใหม่ ๆ ได้ในอนาคต
มายาคติของงาน
จะเกิดอะไรขึ้นหากไม่มีใครทำงาน โรงงาน(นรก)ก็คงว่างเปล่า และสายพานการผลิตก็คงหยุดชะงัก อย่างน้อยก็ในกลุ่มที่ไม่มีใครเต็มใจอยากผลิต การขายของทางไกลก็คงสิ้นสุดลง พวกคนน่ารังเกียจที่เอาแต่ครอบงำควบคุมผู้อื่นเพราะมีเงินและตำแหน่งใหญ่โตก็คงต้องฝึกทักษะการเข้าสังคมให้มากขึ้น ไม่มีรถติดและเหตุการณ์น้ำมันรั่วอีกต่อไป ธนบัตรและใบสมัครงานจะถูกใช้เป็นเชื้อเพลิงในกองไฟเมื่อผู้คนหันไปแลกเปลี่ยนสิ่งของหรือแบ่งปันกันแทน ใบหญ้าและดอกไม้จะเติบโตขึ้นจากรอยแยกบนทางเท้า และกลายเป็นต้นไม้ที่ออกดอกผลในที่สุด
ACAB การผูกขาดความรุนแรง และอำนาจรัฐ
“All Cops are Bastards (ตำรวจทุกคนเป็นคนเลว)” หรือคำย่อ ACAB เป็นวลีติดหูในภาษาอังกฤษที่ทั่วทุกมุมโลกใช้ประณามความรุนแรงจากตำรวจ อย่างไรก็ดี วลีดังกล่าวเป็นมากกว่าแค่วลีที่ติดหูเท่านั้น เพราะมันยังมีที่มาที่ลึกซึ้ง ซึ่งเกี่ยวโยงไปถึงอำนาจของรัฐที่เป็นสถาบัน ความรุนแรง และความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ ทุน และกรรมสิทธิ์เอกชน ในการทำความเข้าใจบทบาทที่ แท้จริง ของ ตำรวจ และเหตุผลที่ทำให้ พวกเขาทุกคนเป็นคนเลว เราต้องสำรวจบทบาทของรัฐภายใต้ระบบทุนนิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมันเกี่ยวข้องกับความรุนแรงและกรรมสิทธิ์เอกชน
วัตถุนิยม
“วัตถุนิยม หรือ จิตนิยม?” คือคำถามพื้นฐาน และข้อถกเถียงที่เป็นรากฐานของวงการปรัชญาในทุกยุคทุกสมัย ข้อถกเถียงดังกล่าวตั้งอยู่บนคำถามที่ว่า ระหว่างวัตถุกับจิตใจนั้น สิ่งใดที่มีความสำคัญมากกว่ากัน หรือสิ่งใดที่กำหนดความเป็นไปของอีกสิ่งหนึ่ง และเมื่อเป็นเช่นนั้น สภาวะที่เราเชิญอยู่นั้นเป็น “ความจริง” หรือไม่ หรือคาามจริงที่ว่านี้ขึ้นอยู่กับการตีความของเรากันแน่? ข้อถกเถียงทางปรัชญาที่ว่านี้ยังขยายไปสู่ฐานความคิดในการมองโลกของทั้งฝ่ายซ้ายและฝ่ายขวา แนวคิดฝ่ายซ้ายส่วนใหญ่มักถูกจัดให้อยู่ในแนวคิดวัตถุนิยม ในขณะที่แนวคิดของฝ่ายขวามักจะอยู่ในแนวคิดแแบจิตนิยม
ความท้าทายของเพลงการเมืองไทยในปัจจุบัน
“มาร่วมกันดันกงล้อประวัติศาสตร์ สู่เอกราชจริงแท้และสดใส จับอาวุธถั่งโถมโหมแรงไฟ เพื่อก้าวไกลแห่งสังคมอุดมการณ์“ บทเพลงนี้คงเป็นที่คุ้นหูคุ้นตาสหายหลายๆคน สำหรับผมแล้ว ถ้าหากว่ามีการจัดอันดับบทเพลงเพื่อชีวิตไทยที่มีเนื้อหาออกซ้ายอย่างชัดเจนที่สุด 5 อันดับ ผมว่าเพลงนี้จะต้องปรากฏในลิสต์อย่างแน่นอน นอกจากนี้ที่มาของเพลงก็ยังคงความขลังเนื่องจากแต่งขึ้นใน ซอกเขาอันลึกลับในเขตการตั้งค่ายของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย หลังเหตุการณ์ 6 ตุลาฯเกิดขึ้นได้ไม่นาน โดยมีแรงบันดาลใจจากภาพยนตร์เกี่ยวกับการปฏิวัติยูโกสลาเวีย
UBI The Highest Stage of Imperialism
The concept of Universal Basic Income was designed by global north economists for global north economies and cannot be applied to the global south. The principles of UBI mean that it pays people in the global north to consume while workers in the global south continue to suffer to produce the north’s commodities.
A Blurred History of Insurgency – Patani
We spoke to Noor Netusha Nusaybah, a Malaysian Patani historian, about how today’s insurgency is connected and shaped by its post-WWII roots, which are often shrouded in misunderstandings, conflicting or competing narratives and secrecy.
In Remembrance of Kru Krong Chandavong
May is our month of memory. Beginning with International Workers’ Day, it marches past several anniversaries—the gunning down of Jit Phumisak on the 5th, the Rajprasong crackdown on Red Shirt protesters in mid-May, the 2014 coup on the 22th—only to end with the anniversary of the execution of schoolteacher-turned-politician Krong Chandavong in 1961 on the orders of Field Marshal Sarit Thanarat. Here, a poetic ode to Chandavong is translated on the anniversary of his death.

[TH] พอดคาสต์ พูดคุยไปเรื่อยผ่านมุมมองฝ่ายซ้าย มีจุดออกตัวที่หลากหลายไม่จำกัดหัวข้อ
[EN] Discussions and examinations of Thailand and the surrounding region from a radical perspective.
เศรษฐศาสตร์มาร์กซิสต์เบื้องต้น
มาร์กซิสม์ไม่ได้เป็นแค่การเรียกร้องให้มีการปฏิวัติคอมมิวนิสต์ แต่มันเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ด้วย เมื่อเราวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์ผ่านมุมมองมาร์กซิสต์เราก็จะเห็นได้ว่า กฎเกณฑ์ทางเศรษฐกิจอันเป็นพื้นฐานของระบบที่เราอาศัยอยู่นั้นเป็นโครงสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมแบบขูดรีด นี่คือจุดเริ่มต้นของเศรษฐศาสตร์มาร์กซิสต์ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างสองชนชั้น นั่นก็คือ ชนชั้นกรรมาชีพ และชนชั้นกระฎุมพี
พระปฏิวัติชาวไอริชในพม่า
อนาคตที่ถูกหลงลืมของสากลนิยมต้านอาณานิคม : เรื่องราวสุดพิศวงของนักเคลื่อนไหวชาวพุทธเชื้อสายไอริช ผู้ต่อต้านอาณานิคมในยุคที่จักรวรรดิรุ่งเรืองในเอเชีย เผยให้เห็นธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงของสังคมอย่างขุดรากถอนโคน ซึ่งไม่ได้เกิดขึ้นอย่างเป็นเส้นตรง
บทนำ สู่เฟมินิสต์ที่มีสำนึกชนชั้น
การอ่านเรื่องแรงงานแบบมาร์กซิสต์นั้นทำให้เราเห็นว่า แรงงานทุกคนต่างถูกกดขี่จากชนชั้นกลาง-กระฎุมพี อย่างไรก็ตาม แรงงานและงานมีหลายรูปแบบ ทั้งแบบที่ได้ค่าตอบแทนและแบบที่ไม่ได้ค่าตอบแทน อย่างคนทำความสะอาดในออฟฟิศได้รับเงินเดือนปกติ แต่ผู้หญิงที่ทำความสะอาดบ้านกลับไม่ได้ แม้จะทำงานเหมือนกัน ฉะนั้นแล้ว หากจะดูว่าแรงงานในบ้านถูกเอาเปรียบอย่างไร เราต้องลองใช้แนวคิดวิพากษ์แบบมาร์กซ และนี่คือ เฟมินิสต์ที่มีสำนึกทางชนชั้น
UBI ขั้นสูงสุดของจักรวรรดินิยม
แนวคิด ‘รายได้พื้นฐานถ้วนหน้า’ (Universal Basic Income “UBI”) ออกแบบโดยนักเศรษฐศาสตร์ซีกโลกเหนือเพื่อประเทศในซีกโลกเหนือ เป็นแนวคิดที่ไม่สามารถนำไปใช้กับซีกโลกใต้ได้ หลักการของ UBI มีอยู่ว่า ผู้คนในซีกโลกเหนือจะได้รับเงินเพื่อนำไปใช้จ่ายบริโภค ในขณะที่คนงานในซีกโลกใต้ยังคงต้องประสบความยากลำบากในการผลิตสินค้าให้แก่ซีกโลกเหนืออยู่
UBI The Highest Stage of Imperialism
The concept of Universal Basic Income was designed by global north economists for global north economies and cannot be applied to the global south. The principles of UBI mean that it pays people in the global north to consume while workers in the global south continue to suffer to produce the north’s commodities.
สหายเอ๋ย ใยเจ้าลืม
สหายเอ๋ย ใยเจ้าไม่รู้ หยดเลือดคราวเมษา หยาดน้ำตาครั้งพฤษภา ห่ากระสุนเดือนตุลา ชัยชนะเมื่อมิถุนา สหายเอ๋ย ใยเจ้าลืม
เสียงโห่ร้องในวันชุมนุม-แสงเทียนนับพัน วันที่กระดูกสันหลังตั้งตรง
ความทระนงในเส้นทาง ขวากหนามที่เราร่วมฝ่า ป่าคอนกรีตที่เราเคยจิบสุรา
กระ ”ทำ” การเป็นตัวแทน
ความจริงแล้วเราแต่ละคนมีอำนาจอยู่ในมือเพียงกระจ้อยร่อย ไม่มีอภิสิทธิ์อำนาจบันดาลความเปลี่ยนแปลงแม้แต่สภาพความเป็นอยู่ ณ ตรงหน้า เราต้องเรียนรู้ และค้นหาความเป็นไปได้ใหม่ ๆ โดยอำนาจเท่านี้ที่มีอยู่ เป็นหนทางเดียวที่มันจะมีพลังมากขึ้น สร้างการเป็นตัวแทนแต่ไม่ใช่อย่างโดดเดี่ยว คุณยังมีเพื่อน เพื่อนบ้าน เพื่อนร่วมงาน สหายร่วมอุดมการณ์ ไปอย่างทีละลำดับขั้นคุณจึงสามารถผนึกกำลังของคุณและของพวกเราเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงได้ และ “ลงมือทำ” ให้มากขึ้นได้
A Blurred History of Insurgency – Patani
We spoke to Noor Netusha Nusaybah, a Malaysian Patani historian, about how today’s insurgency is connected and shaped by its post-WWII roots, which are often shrouded in misunderstandings, conflicting or competing narratives and secrecy.
อัตราการขูดรีด (ในกรณีของไอโฟน)
ดูกลไกการทำงานของผลกำไรและการขูดรีด วิเคราะห์อัตราการขูดรีดที่เกิดขึ้นในการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวผ่านมุมมองแบบมาร์กซิสต์ เราต้องรู้วิธีวัดอัตราการขูดรีดเพื่อให้ทราบอย่างแน่ชัดว่า คนงานส่งมอบความมั่งคั่งให้แก่สังคมทั้งหมดเท่าไรในแต่ละปี
လူတန်းစား(Class) ဟာ ဘာကြောင့် ဖမေးနစ်အရေးကိစ္စ ဖြစ်ရသလဲဆိုတဲ့ အကြောင်းရင်း ၇ ချက်
“သဘောကျသည်ဖြစ်စေ၊ လက်မခံချင်သည်ဖြစ်စေ၊ ကျွန်မတို့အားလုံး အရင်းရှင်လူ့အဖွဲ့အစည်းမှာ နေထိုင်နေရတာပါပဲ။ လူတိုင်းဟာ အသက်ရှင်ရပ်တည်ဖို့အတွက် ငွေကြေးအပေါ်မှာ မှီတည်နေရတယ်။”
ทุนนิยมทำให้นักเรียนขูดรีดตัวเอง
เราเคยสงสัยกันหรือไม่ว่า ทำไมยิ่งเรียน เรายิ่งรู้สึกหลงทางและทุกข์ทรมานมากกว่าเดิม เราอาจรู้สึกว่าเราพยายามไม่พอ เก่งไม่พอ เมื่อเปรียบเทียบกับเพื่อนคนอื่น อย่าเพิ่งน้อยใจไป เพราะระบบการศึกษาไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนแต่แรก แต่มันเป็นระบบที่คล้ายโรงงานผลิตแรงงานออกไปรับใช้ตลาด และนายทุนต่างหาก
ทำไมหนังสือว่าด้วยทุนของมาร์กซ์ยังคงสำคัญ
“ผมพยายามไม่เลคเชอร์ว่าผู้คนควรคิดอะไร แต่พยายามจะสร้างกรอบของการคิดเพื่อให้พวกเขาเห็นภาพ ว่าตัวเองอยู่จุดไหนในองค์รวมของความสัมพันธ์อันซับซ้อนที่ก่อร่างขึ้นเป็นสังคมร่วมสมัยของเรานี้ จากนั้นพวกเขาจะสามารถสร้างแนวร่วมในประเด็นที่ตนเองสนใจ และในขณะเดียวกันก็สามารถระดมกำลังของเขาเองเพื่อช่วยเหลือคนอื่น ๆ ที่เป็นพันธมิตรกันได้”
In Remembrance of Kru Krong Chandavong
May is our month of memory. Beginning with International Workers’ Day, it marches past several anniversaries—the gunning down of Jit Phumisak on the 5th, the Rajprasong crackdown on Red Shirt protesters in mid-May, the 2014 coup on the 22th—only to end with the anniversary of the execution of schoolteacher-turned-politician Krong Chandavong in 1961 on the orders of Field Marshal Sarit Thanarat. Here, a poetic ode to Chandavong is translated on the anniversary of his death.
ความแปลกแยก Alienation [TH/EN]
มาร์กซ์กล่าวไว้ว่าแรงงานทั้งปวงล้วนแปลกแยก (Alienated) นั่นเป็นสาเหตุว่าทำไมคุณถึงรู้สึกหดหู่ตลอดเวลา และ นั่นไม่ใช่ความผิดของคุณ จะว่าเป็นโชคร้ายก็ได้นะ แต่คุณต้องเป็นคนหนึ่งที่แก้ไขมัน We have to become aware of our alienation, gain alienation consciousness, so as to fight it with solidarity and comradeship. Caring for others, for no other reason than we would hope someone else cares for us.
ตะวันตกเลือกปฏิบัติต่อผู้ลี้ภัยอย่างทนโท่
มีการส่งเสริมความเห็นอกเห็นใจต่อผู้ลี้ภัยชาวยูเครนในสื่อตะวันตกอย่างไร้ข้อกังขาอย่างที่ควรจะเป็น นี่คือสิ่งที่ผู้ลี้ภัยจากทุกความขัดแย้งและทุกวิกฤติควรจะได้รับ อย่างไรก็ตาม เป็นไปไม่ได้เลยที่จะมองสิ่งเหล่านี้โดยไม่ฉุกคิดถึงความต่างสุดขั้วระหว่างการปฏิบัติต่อผู้ลี้ภัยที่มาจากยูเครนกับผู้ลี้ภัยที่มาจากซีเรีย อิรัก อัฟกานิสถาน และที่อื่น ๆ